ชีวิตสมณะ
- รายละเอียด
- ฮิต: 9687
๕. ประกอบด้วยสติสัมปชัญญะ
เมื่อตรัสอธิบายเรื่องคุ้มครองทวารในอินทรีย์ทั้งหลายจบลงแล้ว พระสัมมาสัมพุทธเจ้าจึงทรงแสดงสติสัมปชัญญะแก่พระเจ้าอชาตศัตรูว่า “มหาบพิตร อย่างไรภิกษุจึงชื่อว่าเป็นผู้ประกอบด้วยสติสัมปชัญญะ”
อ่านเพิ่มเติม: ข้อปฏิบัติเบื้องต้นของพระภิกษุ ๕.ประกอบด้วยสติสัมปชัญญะ
- รายละเอียด
- ฮิต: 10769
๔. คุ้มครองทวารในอินทรีย์ทั้งหลาย
คุ้มครองทวารในอินทรีย์ทั้งหลายมีคำศัพท์เฉพาะว่า “อินทรียสังวรศีล” มีคำศัพท์ที่ควรแยกพิจารณาได้ ๓ คำ คือ
คำที่ ๑ “อินทรีย์” มีความหมายหลายอย่าง แต่ในศีลข้อนี้มุ่งถึงอินทรีย์ หรืออายตนะภายใน คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ
คำที่ ๒ “สังวร” หมายถึง สำรวมระวัง
คำที่ ๓ “ศีล” หมายถึง ภาวะปรกติ
ดังนั้น “อินทรียสังวรศีล” จึงหมายถึง “ภาวะปรกติในการสำรวมระวังอินทรีย์ทั้ง ๖”
อ่านเพิ่มเติม: ข้อปฏิบัติเบื้องต้นของพระภิกษุ ๔.คุ้มครองทวารในอินทรีย์ทั้งหลาย
- รายละเอียด
- ฮิต: 22312
๓. ถึงพร้อมด้วยศีล
ถึงพร้อมด้วยศีล หมายถึง เป็นผู้มีศีลสมบูรณ์ ซึ่งในสามัญญผลสูตรนี้ หมายถึงความเป็นผู้สมบูรณ์ด้วยศีล ๓ อย่างคือ จุลศีล มัชฌิมศีล และมหาศีล
อ่านเพิ่มเติม: ข้อปฏิบัติเบื้องต้นของพระภิกษุ ๓.ถึงพร้อมด้วยศีล
- รายละเอียด
- ฮิต: 17958
๒. มีอาชีพบริสุทธิ์
การมีอาชีพบริสุทธิ์ของพระภิกษุนั้น มีคำศัพท์โดยเฉพาะว่า “อาชีวปาริสุทธิศีล” ศัพท์เฉพาะคำนี้แยกพิจารณาได้ ๓ คำ คือ
อ่านเพิ่มเติม: ข้อปฏิบัติเบื้องต้นของพระภิกษุ ๒.มีอาชีพบริสุทธิ์
- รายละเอียด
- ฮิต: 33720
๑.สำรวมระวังในพระปาฏิโมกข์
“สำรวมระวังในพระปาฏิโมกข์” นี้มีศัพท์บัญญัติในพระพุทธศาสนาว่า “ปาฏิโมกขสังวรศีล” มีคำศัพท์แยกออกมาพิจารณาได้ ๓ คำ คือ
อ่านเพิ่มเติม: ข้อปฏิบัติเบื้องต้นของพระภิกษุ ๑.สำรวมระวังในพระปาฏิโมกข์